ReadyPlanet.com
dot
กิจกรรมของมูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง ที่ยังทำอย่างต่อเนื่อง
dot
พระพิฆเนศ ปางนาฏลีลาประทานพร
dot
ค้นหาบทความ

dot
เรารักษ์ช้าง


Swissotel Nai Lert Park Bangkok
Muang Thai Life Assurance
Baiyoke Group of Hotels


ยินดีต้อนรับสู่มูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง

  

คุณเป็นคนหนึ่งที่จะร่วมรักษ์ช้างไปกับเราได้

“มูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง”  


แม้ช้างจะถูกยกให้เป็นสัตว์สัญลักษณ์ประจำชาติไทย ตั้งแต่ปี 2544 แต่น่าเสียดาย ที่ช้างก็ไม่อาจรอดพ้นภัยคุกคามอันเกิดจากน้ำมือมนุษย์

เมื่อสิ่งแวดล้อมแปรเปลี่ยนไป

ช้างเลี้ยงต้องเผชิญกับปัญหาการใช้งานและการดูแลที่ไม่เหมาะสม

ในขณะที่ช้างป่าถูกแย่งชิงผืนป่าอันเป็นแหล่งที่อยู่ตามธรรมชาติ

ถึงเวลาแล้วที่พวกเราทุกคนจะร่วมมือกัน
ในการอนุรักษ์และส่งเสริมให้ช้างได้รับการดูแลที่ดี
ให้สมกับที่ ช้าง เป็นสัตว์สำคัญของชาติไทย

 

About Us
ประวัติความเป็นมาicon

กว่าจะมาเป็น "มูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง"

 

More...
วัตถุประสงค์ของมูลนิธิกองทุนรักษ์ช้างicon

มูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน ดังต่อไปนี้

More...
รายนามคณะกรรมการicon

คณะกรรมการมูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง เกิดจากกลุ่มบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพที่มารวมตัว เพื่อจุดมุ่งหมายเดียวกัน

 

More...
Our Achievements
ที่มา: http://www.prcmu.cmu.ac.th/perin_detail.php?perin_id=60
สนับสนุนโครงการผสมเทียมด้วยน้ำเชื้อช้างแช่แข็งในช้างเอเชียicon

มูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง เล็งเห็นความสำคัญของงานวิจัยที่จะช่วยรองรับปัญหาความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของช้างไทย จึงช่วยหารายได้เพื่อเป็นทุนสนับสนุนการดำเนินโครงการนี้

More...
โครงการจัดหาพื้นที่ปลูกพืชสมุนไพร พืชอาหารช้างและที่อยู่ของช้างicon

โครงการนี้เป็นโครงการร่วมกันระหว่าง ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย (สถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ)  กับมูลนิธิกองทุนรักษ์ช้าง เพื่อเพิ่มแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยสำหรับช้างชรา ช้างแม่ลูกอ่อน และช้างตกมัน

More...
เรื่องจริงของช้าง | เรารักษ์ช้าง
การจำแนกงาช้าง

งาช้าง หากไม่ได้ติดกับตัวช้างแล้ว เราจะสามารถบอกได้อย่างไรว่า "งาช้าง" นั้น เป็นงาช้างของช้างชนิดใด

More...
เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับฟันของช้าง

ช้างมี ฟันตัด 1 คู่ ข้างหน้าด้านบน ที่มีลักษณะยื่นยาวออกไป เรียกว่า งา (ซึ่งเป็นฟันตัดซี่ที่ 2) แต่ไม่มีฟันตัดหรือฟันหน้าด้านล่าง ส่วนฟันกราม มีทั้งด้านบนและด้านล่าง

More...
ช้างกับการดมกลิ่นicon

ช้างมีรูจมูกสองรู เวลาช้างดมกลิ่น กลิ่นจะผ่านท่อหายใจเข้าไปในช่องโพรงจมูกของช้าง ในช่องโพรงจมูกนี้เอง จะมีโครงสร้างกระดูกอ่อนลักษณะเป็นแผ่นที่แตกแขนงออก และบุด้วยเซล์รับกลิ่นจำนวนมาก

More...